Customize Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorized as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customized advertisements based on the pages you visited previously and to analyze the effectiveness of the ad campaigns.

จำนวนผู้เข้าชม 29,670,887

มิจฯ หลอกขายสินค้า จ่ายเงินผ่านแอปฯ แต่ไม่ได้ของ

มิจฯ หลอกขายสินค้า จ่ายเงินผ่านแอปฯ แต่ไม่ได้ของ

นักช้อปทั้งหลายโปรดระวัง มิจฉาชีพมีกลโกงรูปแบบใหม่ หลอกขายสินค้าผ่านเพจปลอม อ้างมีหน้าร้านบนแอปฯ ขายของออนไลน์ ทำให้ดูมีความน่าเชื่อถือ แต่รู้ไหมว่า หลังจากโอนเงินไปแล้วนั้น สุดท้ายทางร้านจะไม่ส่งสินค้าไปให้

วิธีหลอกลวงของมิจฉาชีพ หากเจอแล้วให้เอ๊ะทันที
– เปิดเพจปลอมบนโซเชียลมีเดีย
– ยิงโฆษณาดึงดูดความสนใจ
– อ้างว่า มีหน้าร้านในแอปฯ ขายของออนไลน์
– หลอกให้กดโค้ดรับส่วนลด
– มิจฯ ส่ง QR Code ชำระเงินให้แบบส่วนตัว
– บัญชีปลายทางเป็นบัญชีร้านค้า
– เหยื่อหลงเชื่อโอนเงิน แต่ไม่ได้รับของ

มิจฉาชีพลักษณะนี้ มักจะใช้แอปฯ ขายของออนไลน์ เป็นเครื่องมือแอบอ้างหลอกลวง โดยจะส่ง QR Code ที่ปรากฏชื่อบัญชีปลายทางเป็นบัญชีของแอปฯ เพื่อรับโอนเงินของเหยื่อ ทำให้เหยื่อหลงเชื่อและมั่นใจว่า จะไม่ถูกหลอก แต่แท้ที่จริง QR Code ดังกล่าว อาจจะเป็นการนำ QR Code มาจากร้านค้าของบุคคลอื่น หรือเป็นรูปแบบการหลอกให้เหยื่อชำระเงินแทน

  หน่วยงานที่ตรวจสอบ

ข่าวอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด