Customize Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorized as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customized advertisements based on the pages you visited previously and to analyze the effectiveness of the ad campaigns.

จำนวนผู้เข้าชม 29,727,242

หากมีกลิ่นตัวให้ดูที่ขี้หู ถ้าขี้หูแห้งจะมีกลิ่นตัวอ่อน ๆ ถ้าขี้หูเปียกจะมีกลิ่นตัวแรง

คำแนะนำนี้ไม่น่าเชื่อ หากมีกลิ่นตัวให้ดูที่ขี้หู ถ้าขี้หูแห้งจะมีกลิ่นตัวอ่อน ๆ ถ้าขี้หูเปียกจะมีกลิ่นตัวแรง ทางกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ขี้หูไม่ได้เป็นตัวบ่งชี้ว่า มีกลิ่นตัวหรือไม่ กลิ่นตัวมีสาเหตุหลายประการ 

ซึ่งกลิ่นตัวมีสาเหตุหลักมาจาก 

– เหงื่อ ร่างกายขับเหงื่อออกมาเพื่อระบายความร้อน ซึ่งเหงื่อเองไม่มีกลิ่น แต่เมื่อเหงื่อสัมผัสกับแบคทีเรียบนผิวหนัง จะเกิดการย่อยสลายและทำให้เกิดกลิ่นตัว

– แบคทีเรีย แบคทีเรียบนผิวหนังมีบทบาทสำคัญในการสร้างกลิ่นตัว โดยจะย่อยสลายเหงื่อและสารอื่น ๆ ทำให้เกิดกลิ่น

– อาหาร อาหารบางชนิด เช่น กระเทียม หอมใหญ่ เครื่องเทศ และอาหารหมักดอง สามารถส่งผลต่อกลิ่นตัวได้

– ฮอร์โมน การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในร่างกาย เช่น ช่วงวัยรุ่น การตั้งครรภ์ หรือภาวะหมดประจำเดือน อาจทำให้มีกลิ่นตัวเปลี่ยนแปลงได้

– โรคบางชนิด บางครั้งกลิ่นตัวที่ผิดปกติอาจเป็นสัญญาณของโรคบางชนิด เช่น โรคเบาหวาน โรคไต หรือโรคตับ

Web2

สำหรับขี้หู จะมี 2 ประเภทหลัก ๆ คือ ขี้หูแบบแห้งและขี้หูแบบเปียก ซึ่งเป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่แตกต่างกันในแต่ละเชื้อชาติ โดยคนเอเชียส่วนใหญ่จะมีขี้หูแบบแห้ง ส่วนคนยุโรปและแอฟริกามักจะมีขี้หูแบบเปียก แต่ปัจจัยต่าง ๆ นั้นยังมีปัจจัยอื่นเสริมอีกที่จะส่งผลกับลักษณะของขี้หู เช่น การทำกิจกรรมต่าง ๆ สภาพอากาศและการใช้ชีวิตประจำวัน

ดังนั้น ขี้หูจึงไม่ได้มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับกลิ่นตัว กลิ่นตัวส่วนใหญ่เกิดจากเหงื่อที่ถูกแบคทีเรียบนผิวหนังย่อยสลาย ทำให้เกิดกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์

AFNC คอนเฟิร์มแล้ว ข่าวนี้ปลอมกดแชร์เลย

  หน่วยงานที่ตรวจสอบ

ข่าวอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด