Customize Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorized as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customized advertisements based on the pages you visited previously and to analyze the effectiveness of the ad campaigns.

จำนวนผู้เข้าชม 29,890,374

ข่าวปลอม อย่าแชร์ ผู้หญิงมีโอกาสเกิดไตวายสูงมาก หากปล่อยให้กรดยูริกในเลือดสูง

ตามที่มีการแชร์คลิปในสื่อออนไลน์เกี่ยวกับประเด็นเรื่องผู้หญิงมีโอกาสเกิดไตวายสูงมาก หากปล่อยให้กรดยูริกในเลือดสูง ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ

จากกรณีที่มีผู้ให้ข้อมูลโดยระบุว่าผู้หญิงมีโอกาสเกิดไตวายสูงมาก หากปล่อยให้กรดยูริกในเลือดสูง ทางกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่ากรดยูริกทำให้เกิดโรคไตวาย จะกล่าวโดยละเอียด คือ เกิดโรคไตได้แต่อาจจะไม่ใช่ไตวาย เช่น เป็นนิ่วในท่อไต หรือ ถ้าเป็นโรคไตวายก็มักจะเป็นไตวายเฉียบพลัน ซึ่งมีโอกาสหายได้ แต่โอกาสเกิดโรคไตวายเรื้อรังโดยตรงมีได้แต่น้อยมาก อีกประเด็น คือ กรดยูริกที่สูงทำให้ไตเรื้อรังที่มีอยู่เสื่อมเร็วขึ้น เนื่องจากฮอร์โมนเอสโตรเจนช่วยขับกรดยูริก ซึ่งกรดยูริกในผู้หญิงวัยประจำเดือนต่ำกว่าผู้ชาย และเกิดโรคเก๊าท์น้อยกว่าผู้ชาย แต่ในวัยหมดประจำเดือนกรดยูริกจะสูงขึ้นเท่าผู้ชาย ทำให้เกิดโรคเก๊าท์สูงขึ้นแต่ไม่ได้ทำให้เกิดโรคไตวายมากขึ้น 

ดังนั้นขอให้ประชาชนอย่าหลงเชื่อข้อมูลดังกล่าว และขอความร่วมมือไม่ส่ง หรือแชร์ข้อมูลดังกล่าวต่อในช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากกรมการแพทย์ สามารถติดตามได้ที่ www.dms.go.th หรือโทร 02 5906000

บทสรุปของเรื่องนี้คือ : กรดยูริกในผู้หญิงวัยประจำเดือนจะต่ำกว่าผู้ชายและเกิดโรคเก๊าท์น้อยกว่าผู้ชาย แต่ในวัยหมดประจำเดือนกรดยูริกจะสูงขึ้นเท่าผู้ชาย ทำให้เกิดโรคเก๊าท์สูงขึ้น แต่ไม่ได้ทำให้เกิดโรคไตวายมากขึ้น 

  หน่วยงานที่ตรวจสอบ

ข่าวอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด