Customize Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorized as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customized advertisements based on the pages you visited previously and to analyze the effectiveness of the ad campaigns.

จำนวนผู้เข้าชม 30,624,011

มิจฉาชีพชุบตัวเป็น “ตำรวจปลอม” หวังเอาเงิน

มิจฉาชีพชุบตัวเป็น “ตำรวจปลอม” หวังเอาเงิน

โปรดระวังมิจฉาชีพ 3 รูปแบบ “ตำรวจปลอม” หลอกให้โอนเงิน อ้างเพื่อตรวจสอบแสดงความบริสุทธิ์ซึ่งมิจฉาชีพมักจะใช้มุก “ปลอมเป็นตำรวจ” โดยมี 3 รูปแบบที่พบบ่อย คือ

1. หมายเรียกปลอม ใบสั่งจราจรปลอม
มีหมายส่งถึงบ้าน หลอกให้สแกน QR Code แนบลิงก์อันตราย ล่อลวงให้เพิ่มเพื่อนทางไลน์ อ้างตัวเป็นตำรวจ แล้วล่อลวงให้โอนเงิน

2. ไลน์สถานีตำรวจปลอม ช่วยรับแจ้งความ และทำทีสอบสวนแบบปลอม ๆ
มิจฉาชีพมักส่งบัตรข้าราชการ (ปลอม) ให้ดู เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ วิดีโอคอลโดยสวมเครื่องแบบตำรวจ เซ็ตฉากคล้ายอยู่ในโรงพัก ตำรวจปลอมมักเป็นสาย 2-3 ในแก๊งคอลเซ็นเตอร์ จะข่มขู่เหยื่อว่าทำผิดกฎหมาย มักสร้างเรื่องพัวพันคนร้ายที่ถูกจับกุมเป็นข่าว ส่งเอกสารราชการ (ปลอม) เช่น เอกสาร ปปง. เอกสารหมายจับ พอเหยื่อคล้อยตามจะทำการสอบสวนออนไลน์ แล้วลงท้ายให้โอนเงินเพื่อตรวจสอบ

3. เพจเฟซบุ๊กปลอม
ใช้ภาพนายตำรวจทำคอนเทนต์ ทำเนียนคล้ายเพจจริง รับร้องเรียน ช่วยเหลือคดีอาชญากรรมทางเทคโนโลยี หรือรับแจ้งความออนไลน์ มักให้ติดต่อทางแชท messenger แล้วแอดไลน์ อ้างเจ้าหน้าที่ไอทีช่วยเจาะระบบเอาเงินคืน อ้างมีทนายช่วยเหลือคดี ขอเงินส่วนแบ่ง ให้โอนเงินเพิ่ม

  หน่วยงานที่ตรวจสอบ

ข่าวอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด