Customize Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorized as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customized advertisements based on the pages you visited previously and to analyze the effectiveness of the ad campaigns.

จำนวนผู้เข้าชม 29,670,196
ข่าวบิดเบือน
ภัยพิบัติ

เปิด 10 เขต ในกรุงเทพฯ ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการจมน้ำ

จากข้อมูลน้ำท่วมในพื้นที่ภาคกลาง กรุงเทพฯ และปริมณฑล สามารถจัดกลุ่มความ เสี่ยงน้ำท่วมได้เป็น 3 ประเภท คือ 

1.น้ำท่วมเมืองหรือน้ำรอการระบาย จากฝนตกหนักในเมืองมากเกินกว่าความสามารถระบบระบายน้ำ 

2.น้ำล้นจากฝั่งแม่น้ำ จากปริมาณฝนตกหนักเกินความจุลำน้ำ ทำให้น้ำล้นฝั่งเข้าท่วมชุมชน 

3.น้ำท่วมชายฝั่งชุมชนหรือเมืองที่อยู่ริมชายฝั่งทะเล เมื่อต้องเผชิญกับระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น 

ทั้งนี้ กรุงเทพมีระดับความสูงเฉลี่ย 1.5 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลบวกกับมีการทรุดตัวของดินในอัตรา 30 มม./ปี(บางวิจัยบอก 10-20 มม./ปีหลังมีมาตการห้ามขุดเจาะน้ำบาดาล) ปัจจุบันการทรุดตัวของดินกรุงเทพมหานครเริ่มชะลอตัวลง แต่จากการปัญหาดินทรุดที่สะสมมานาน ทำให้บางส่วนของเมืองอยู่ต่ำกว่า ระดับน้ำทะเล 1 เมตร ซึ่งหากเกิดฝนตกหนัก เกิดพายุโซนร้อน หรือมีน้ำทะเลหนุนสูง จนไม่สามารถระบายน้ำได้ทันท่วงทีก็จะทำให้เกิดน้ำท่วมได้ในขณะที่ระดับน้ำทะเลในอ่าวไทย เพิ่มขึ้น เฉลี่ยปีละ 3 มม. (อุณหภูมิสูงขึ้นเฉลี่ย 1.5 องศาเซลเซียส ทำให้น้ำทะเลหนุนสูงขึ้นมากกว่า 1 เมตร) โดยที่คาดว่าระดับน้ำทะเลอ่าวไทย จะมีอัตราสูงขึ้น ประมาณ 1-1.5 ม.

ตอนนี้กรุงเทพฯ โดยเฉพาะพื้นที่ชั้นใน มีการทรุดตัวน้อยมาก เนื่องจากไม่ได้มีการสูบน้ำบาดาลมาใช้น้ำทะเลสูงขึ้นจริงในปัจจุบัน แต่ก็ยังอยู่ในอัตราการเพิ่มที่ป้องกันได้

Web2

AFNC ตรวจสอบให้แล้ว ข่าวนี้บิดเบือน

ข่าวอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด