Customize Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorized as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customized advertisements based on the pages you visited previously and to analyze the effectiveness of the ad campaigns.

จำนวนผู้เข้าชม 29,673,677

4 วิธี ทำธุรกรรมออนไลน์ ให้รอดจากภัยไซเบอร์

สำหรับการจ่ายเงินค่าสินค้าออนไลน์โดยการโอนเงิน ซึ่งไม่ยุ่งยากในการดำเนินการ แต่อาจจะไม่สะดวกต่อผู้ซื้อนั้น ทุกวันนี้ ธนาคารส่วนใหญ่ได้ให้บริการการทำธุรกรรมผ่านอินเทอร์เน็ต หรือที่เรียกว่า “Internet Banking” ที่ทำให้ผู้ซื้อสามารถโอนเงินหรือจ่ายเงินอย่างง่ายดายโดยไม่จำเป็นต้องไปที่ธนาคาร ซึ่งวิธีการทำธุรกรรมออนไลน์ที่มั่นคงและปลอดภัย เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้มีดังนี้ 

  1. จำกัดวงเงินการโอนหรือการจ่ายค่าสินค้า ซึ่งธนาคารพาณิชย์ชั้นนำหลายแห่งในประเทศไทยที่ให้บริการด้านธนาคารทางอินเทอร์เน็ต เปิดโอกาสให้ผู้ใช้บริการสามารถทำการจำกัดวงเงินในการโอน หรือจ่ายค่าสินค้าบริการให้อยู่ในขอบเขตที่ผู้ใช้บริการเห็นว่าเหมาะสมและเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการความเสี่ยงให้กับบัญชีบริการธนาคารทางอินเทอร์เน็ตได้เป็นอย่างดี
  2. พิจารณาว่าเว็บไซต์ที่ใช้บริการนั้นมีการเข้ารหัส เช่น รหัส Secure Sockets Layer หรือ SSL ซึ่งนำข้อมูลมาเข้ารหัสพิเศษ ทำให้ข้อมูลที่ส่งไปยังปลายทางนั้นมีความมั่นคงปลอดภัยสูง  รวมถึงการตอบกลับจากปลายทางมายังผู้ทำรายการ ซึ่งการเข้ารหัสนี้ จะสามารถถอดแปลงรหัสได้โดยที่ต้องอาศัยตัวแปลงรหัสซึ่งอยู่ที่ต้นทางและปลายทางเท่านั้น
  3. ระวังเว็บไซต์ประเภทฟิชชิ่ง (Phishing) ซึ่งเป็นกลวิธีในการหลอกลวงเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลส่วนตัว อันจะนำไปสู่การแสวงหาผลประโยชน์ที่อาจก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้ที่ถูกล่อลวง ข้อมูลส่วนตัวนั้นมักจะเป็นรหัสประจำตัวต่าง ๆ Password เลขที่บัตรเครดิต เลขที่บัญชี หรือเลขที่บัตรประชาชน 
  4. กำหนด Password ที่มีความมั่นคงปลอดภัย ไม่ตั้ง Password ที่จำง่าย ถ้าเป็นนไปได้ให้ใช้ตัวอักษรผสมทั้งตัวพิมพ์เล็กและใหญ่ และไม่ควรเลือกฟังก์ชั่นจำ Password อัตโนมัติ

ข่าวอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด