Customize Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorized as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customized advertisements based on the pages you visited previously and to analyze the effectiveness of the ad campaigns.

จำนวนผู้เข้าชม 30,903,940
ข่าวจริง
ภัยพิบัติ

น้ำแข็งขั้วโลกละลาย ระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้น อนาคตประเทศไทยอาจสูญเสียพื้นที่ชายฝั่ง

เป็นเรื่องที่อาจเกิดขึ้นได้จริง แต่อย่าตกใจไป จากข้อมูลของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change หรือ IPCC) ระบุว่า ภายใต้ภาพฉายอนาคตกรณีที่เลวร้ายที่สุด (RCP 8.5) อุณหภูมิโลกจะเพิ่มขึ้นประมาณ 4 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับอุณหภูมิในช่วงปฏิวัติอุตสาหกรรม ซึ่งหากมีเหตุการณ์แผ่นน้ำแข็งละลายอย่างรวดเร็วเกิดขึ้นด้วย จะทำให้ระดับน้ำทะเลของโลกเพิ่มขึ้น ประมาณ 0.5-0.7 เมตร ณ ปี ค.ศ. 2050 และ 2.5 เมตร ณ ปี ค.ศ. 2100

ดังนั้นเหตุการณ์ธารน้ำแข็งและแผ่นน้ำแข็งทั่วโลกละลายทั้งหมด จนอาจทำให้ระดับน้ำทะเลของโลกเพิ่มสูงขึ้นประมาณ 60-70 เมตร นั้นอาจจะใช้ระยะเวลาอีกหลายร้อยปีหรือหลายพันปี ขึ้นอยู่กับปริมาณก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศและการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลก

น้ำแข็งขั้วโลกละลาย

สำหรับเหตุการณ์ระดับน้ำทะเลที่เพิ่มขึ้นสูงขึ้น 60-70 เมตร ประเทศไทย
ยังไม่มีการศึกษาพื้นที่ที่คาดว่า จะได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ดังกล่าว อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาเบื้องต้น หากพิจารณาพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากกรณีระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้น ประมาณ 0.5-0.7 เมตร ณ ปี ค.ศ. 2050 และ 2.5 เมตร ณ ปี ค.ศ. 2100 พบว่าประเทศไทยจะเผชิญกับการสูญเสียพื้นที่ชายฝั่ง การกัดเซาะชายฝั่งที่รุนแรงและการรุกล้ำของน้ำเค็มเข้าไปในลุ่มน้ำต่าง ๆ ส่งผลต่อการเกษตรและการผลิตน้ำประปา โดยเฉพาะบริเวณพื้นที่กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม นครปฐม ปทุมธานี นนทบุรี และฉะเชิงเทรา

ข่าวอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด