1. เสนอผลตอบแทนสูงเกินจริง อ้างลงทุนน้อย กำไรเยอะ แถมเร่งรัดให้รีบตัดสินใจโอนเงิน
2. โฆษณาชวนเชื่อ อ้างไม่มีความรู้ก็ลงทุนได้ ลงทุนง่าย ๆ ผ่านเฟซบุ๊ก หรือ เว็บไซต์ หรือแพลตฟอร์มอื่น ๆ
3. แอบอ้างสัญลักษณ์ ก.ล.ต. หรือ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ
4. สวมรอยดารา คนดัง หรือผู้บริหารบริษัทขนาดใหญ่ โดยส่วนใหญ่ใช้รูปมาประกอบการโฆษณา
5. บัญชีปลายทางที่รับโอนใช้ชื่อเป็นบัญชีส่วนตัว
6. เลียนแบบ หรือ ตั้งชื่อให้ใกล้เคียงกับเพจจริงบริษัทที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลจากหน่วยงานรัฐ
จำนวนผู้เข้าชม
30,478,816
กลโกงยอดฮิต มิจฉาชีพชอบใช้
หน่วยงานที่ตรวจสอบ

ข่าวอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ข่าวล่าสุด
OR เปิดให้ลงทุนหุ้นคาเฟ่อเมซอน เริ่ม 1,000 บาท ปันผลวันละ 290 บาท ผ่านเพจ Amazon Corporation
ข่าวปลอม
การเงิน-หุ้น
1 กรกฎาคม 2568 | 16:30 น.
สั่งล็อกเลขสลากกินแบ่งฯ งวด 1 ก.ค. 68 เพื่อช่วยคนไทย
ข่าวปลอม
นโยบายรัฐบาล-ข่าวสาร
1 กรกฎาคม 2568 | 16:00 น.
บริษัท Cambodia-Logistics ส่งของข้ามชายแดนไทย-กัมพูชาได้เป็นปกติ
ข่าวปลอม
ความสงบและความมั่นคง
1 กรกฎาคม 2568 | 15:00 น.
ด่านชายแดนคลองลึก จ.สระแก้ว ยังเปิดเป็นปกติ
ข่าวบิดเบือน
ความสงบและความมั่นคง
1 กรกฎาคม 2568 | 14:00 น.
ปปง. ร่วมกับตำรวจสอบสวนกลาง เปิดให้ติดต่อรับเงินคืน ผ่านเพจ Reduce danger online
ข่าวปลอม
การเงิน-หุ้น
1 กรกฎาคม 2568 | 13:30 น.